สัญญาจ้าง - สัญญารับทุน

 

บัตรประจำตัว - หนังสือรับรอง - ขอข้อมูล

สัญญาจ้างพนักงานสถาบัน/คณะนิติศาสตร์ ตำแหน่งวิชาการ

คำขอมีบัตรประจำตัวข้าราชการ

สัญญาจ้างพนักงานสถาบัน/ คณะนิติศาสตร์ สายสนับสนุน

คำขอมีบัตรประจำตัวข้าราชการบำนาญ

EMPLOYMENT CONTRACT FOR THE INSTITUTE EMPLOYEE

IN THE ACADEMIC POST

คำขอมีบัตรประจำตัวพนักงานสถาบัน

สัญญาลูกจ้างชั่วคราว

คำขอมีบัตรประจำตัวลูกจ้างประจำ

สัญญาผ่อนผันให้นับเวลาที่ขอกลับเข้ารับราชการเป็นระยะเวลาการรับราชการ

ชดใช้ทุนตามสัญญาลาศึกษา ฝึกอบรม หรือปฏิบัติการวิจัย

คำขอมีบัตรประจำตัวเจ้าหน้าที่สถาบัน/ลูกจ้างชั่วคราว/ลูกจ้างคณะ

โปรแกรมคำนวณบำเหน็จบำนาญ

แบบคำขอหนังสือรับรอง

 

แบบคำขอถ่ายประวัติ (แบบ ก.ม.1) และขอข้อมูลด้านบุคคล

 

ภาระงานทางวิชาการ

ประเมินทดลองงาน - ต่อสัญญาจ้าง

แบบรายงานภาระงานทางวิชาการ (รายบุคคล)

แบบประเมินผลการทดลองงานของพนักงานสถาบันสายสนับสนุน

แบบสรุปภาระงานทางวิชาการ (สำหรับคณะ)

แบบประเมินเพื่อต่อสัญญาจ้างพนักงานสถาบันสายสนับสนุน

การประเมินค่างาน

 

กรณีตำแหน่งสูงขึ้น

แบบประเมินเพื่อต่อสัญญาจ้างพนักงานสถาบันตำแหน่งวิชาการ

เอกสารหมายเลข 1 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษ

การลาประเภทต่าง ๆ

เอกสารหมายเลข 2 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับเชี่ยวชาญ และระดับเชี่ยวชาญพิเศษ

แบบใบลาป่วย ลาคลอดบุตร ลากิจส่วนตัว

เอกสารหมายเลข 3 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญซึ่งเป็นตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีลักษณะงานที่ใช้วิชาชีพและมิได้ใช้วิชาชีพ

แบบใบลาพักผ่อน

เอกสารหมายเลข 4 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภททั่วไประดับชำนาญงาน และระดับชำนาญงานพิเศษ

 

กรณีตำแหน่งว่าง

แบบใบขอยกเลิกวันลา

เอกสารหมายเลข 1 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับชำนาญการ และระดับชำนาญการพิเศษซึ่งเป็นตำแหน่งที่ปฏิบัติงานเฉพาะด้านหรือเฉพาะทางในกรณีตำแหน่งว่าง

แบบใบลาอุปสมบท

เอกสารหมายเลข 2 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับเชี่ยวชาญ และระดับเชี่ยวชาญพิเศษซึ่งเป็นตำแหน่งที่ปฏิบัติงานเฉพาะด้านหรือเฉพาะทางในกรณีตำแหน่งว่าง

แบบใบลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย

เอกสารหมายเลข 3 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญซึ่งเป็นตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีลักษณะงานที่ใช้วิชาชีพและมิได้ใช้วิชาชีพในกรณีตำแหน่งว่าง

แบบใบลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ (สำหรับข้าราชการ)

เอกสารหมายเลข 3 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญซึ่งเป็นตำแหน่งหัวหน้าหน่วยงานที่มีลักษณะงานที่ใช้วิชาชีพและมิได้ใช้วิชาชีพในกรณีตำแหน่งว่าง(มีรักษาการฯ)

แบบใบลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ (สำหรับพนักงานสถาบัน)

เอกสารหมายเลข 4 แบบประเมินค่างานตำแหน่งประเภททั่วไประดับชำนาญงาน และระดับชำนาญงานพิเศษในกรณีตำแหน่งว่าง

แบบขออนุญาตลาพักผ่อน ลากิจ ณ ต่างประเทศ

กรณีเปลี่ยนประเภทตำแหน่ง

ขออนุมัติเดินทางไปราชการ ณ ต่างประเทศ

เอกสารหมายเลข 5 แบบประเมินค่างานในกรณีเปลี่ยนประเภทตำแหน่งจากตำแหน่งประเภททั่วไปเป็นตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ

แบบขออนุมัติให้บุคลากรเดินทางไปราชการ ณ ต่างประเทศ

แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน

แบบเลื่อนเงินเดือน

แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน ตำแหน่งอธิการบดี

แบบสรุปการใช้วงเงินเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของรองอธิการบดี สำหรับข้าราชการ รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

แบบสรุปการใช้วงเงินเลื่อนเงินเดือนพนักงานสถาบัน

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานผู้ช่วยอธิการบดี สำหรับข้าราชการ รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

แบบบัญชีเลื่อนขั้นเงินค่าจ้างลูกจ้างประจำ

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้อำนวยการสำนัก สำหรับข้าราชการ รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

แบบบัญชีให้เงินตอบแทนพิเศษลูกจ้างประจำ

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของรองคณบดี/รองผู้อำนวยการสำนัก สำหรับข้าราชการและพนักงานสถาบัน รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

แบบบัญชีเลื่อนขั้นเงินเดือนลูกจ้างชั่วคราวงบประมาณเงินรายได้

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานผู้ดำรงตำแหน่งวิชาการ ซึ่งไม่ได้ดำรงตำแหน่งบริหาร สำหรับข้าราชการและพนักงานสถาบัน รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

การขอตำแหน่งทางวิชาการ

ส่วนที่ 2 ผลสัมฤทธิ์ของงาน

แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้อง 

ต้อง login โดยใช้ net id

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของเลขานุการคณะ/สำนัก สำหรับข้าราชการและพนักงานสถาบัน รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

 

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของหัวหน้ากลุ่มงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานสถาบัน รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

 

แบบประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานสถาบัน รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม–31 มีนาคม)

 

สวัสดิการต่าง ๆ

 

แบบขอรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล

 

 แบบแสดงความจำนงขอรับสวัสดิการทุนการศึกษาบุตร

 

 แบบฟอร์มบริจาคทุนการศึกษาบุต

 

 แบบแสดงความจำนงขอรับสวัสดิการทุนการศึกษาบุตร

 

 คำขอกู้เงินเพื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์และ/หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์

 

 สัญญากู้เงินเพื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์และ/หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์

 

 แบบแสดงความจำนงขอรับสวัสดิการความช่วยเหลือจากเหตุอุทุกภัย

 

 แบบฟอร์มรายชื่อบุคลากรผู้ที่จะขอทำประกันสุขภาพกลุ่มประจำปี

 

ใบสมัครเข้าเป็นสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

 

แบบการแจ้งเปลี่ยนแปลงเงินสะสมเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

 

 แบบฟอร์มขอแจ้งสิ้นสุดสมาชิกภาพกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

 

หนังสือแสดงเจตนาผู้รับสวัสดิการมรณกรรม

 

  

 

กบข - กสจ

 

แบบยืนยันการขอรับเงินบำเหน็จบำนาญ

 

แบบแจ้งรายการลดหย่อนภาษีเงินได้สำหรับผู้รับเบี้ยหวัด บำเหน็จบำนาญปกติ

 

แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับบำเหน็จตกทอด

 

แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษกรณีข้าราชการถึงแก่ความตาย

ลาออก

แบบหนังสือแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับเงินช่วยพิเศษกรณีลูกจ้างประจำถึงแก่ความตาย

ยืนยันการลาออกจากราชการ

แบบใบสมัครและแสดงเจตนาระบุตัวผู้รับประโยชน์สมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำหรับลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว

ขอลาออกจากราชการ

แบบคำขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลสมาชิก กสจ.

หนังสือแสดงความจำนงขอระงับการลาออกจากราชการ

ขอตำแหน่งที่สูงขึ้น

หนังสือยินยอมให้ส่วนราชการหักเงินชำระหนี้ทุนการศึกษา

แบบคำขอรับการพิจารณาแต่งตั้งตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น (กชท.01)

แบบสอบถามก่อนออกจากงาน

แบบคำขอรับการพิจารณาแต่งตั้งตำแหน่งประเภททั่วไปให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น (กชท.02)

สมัครงาน

แบบประเมินคุณภาพคู่มือปฏิบัติงาน (กชท.03)

ใบสมัครตำแหน่งอาจารย์

 แบบประเมินคุณภาพผลงานเชิงวิเคราะห์ (กชท.04)

ใบสมัครตำแหน่งอาจารย์ (English)

แบบประเมินคุณภาพผลงานเชิงสังเคราะห์ (กชท.05)

ใบสมัครงาน

แบบประเมินคุณภาพผลงานวิจัย (กชท.06)

แบบคำขอรับการพิจารณาคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะและตำแหน่งประเภททั่วไป

แบบประเมินคุณภาพผลงานลักษณะอื่น (กชท.07)

แบบคำขอรับการพิจารณาคัดเลือกเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทผู้บริหาร

แบบประเมินคุณภาพบทความ หรือบทความทางวิชาการ (กชท.08)

การปรับวุฒิ - เปลี่ยนประเภท

แบบรายงานและสรุปผลการประเมินคุณภาพผลงาน (กชท.09)

แบบประเมินบุคลากร สายสนับสนุนเพื่อดำเนินการเปลี่ยนประเภทตำแหน่ง/เปลี่ยนชื่อตำแหน่ง (กรณีตำแหน่งว่าง)

แบบแสดงหลักฐานการมีส่วนร่วมในผลงาน (กชท.10)

แบบประเมินบุคลากร สายสนับสนุนเพื่อดำเนินการเปลี่ยนประเภทตำแหน่ง/เปลี่ยนชื่อตำแหน่ง กรณีมีคนครอง

แบบรับรองจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ (กชท.11)

เอกสารแนบท้ายประกาศสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการปรับวุฒิของพนักงานสถาบันสายสนับสนุน

 แบบเสนอแต่งตั้งศาสตราภิชาน

ทุนการศึกษาสำหรับบุคลากรสายสนับสนุน (ตรี/โท) ภายในประเทศ

 

แบบสมัครขอรับทุนการศึกษา

เงินสนับสนุน TOEIC

สัญญาค้ำประกัน

ใบสมัครขอรับเงินสนับสนุนการพัฒนาตนเองด้านทักษะภาษาอังกฤษ

หนังสือยินยอมให้สหกรณ์ออมทรัพย์หักเงิน (กรณีผิดสัญญา)

หนังสือรับรองคุณสมบัติโดยผู้บังคับบัญชาสำหรับผู้สมัครขอรับเงินสนับสนุน

 

 

 

 

 

 

 

 

     ทุกองค์การล้วนต้องการให้การดำเนินงานประสบความสำเร็จตามวิสัยทัศน์ เป้าหมายที่กำหนด ซึ่งความสำเร็จเหล่านั้นส่วนใหญ่เกิดจากความมุ่งมั่น ทุ่มเทปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคน ทุกระดับ ตามหน้าที่ความรับผิดชอบต่างๆที่กำหนดไว้  การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นวิธีการที่จะทำให้ผู้บริหารขององค์การทราบถึงสถานะของการปฏิบัติงานตามภารกิจ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายต่างๆ ที่ถ่ายทอดให้บุคลากรผู้ปฏิบัติงานในระดับต่างๆ   เพื่อประโยชน์ในหลายด้าน คือ

 

     1.ด้านสถาบันจะได้ทราบสถานะในการปฏิบัติงานในภารรวมว่าสำเร็จ หรือไม่ ระดับใด ต้องปรับปรุง พัฒนา หรือบริหารจัดการจุดไหน อย่างไรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่ตั้งไว้ตามกำหนด 

     2.ด้านผู้บังคับบัญชาได้ทราบถึงทักษะความรู้ของผู้ได้บังคับบัญชาต่อการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย ว่ามีเพียงพอหรือไม่ มอบหมายงานถูกกับคนหรือไม่ ควรมีการจัดสรร โยกย้าย สลับตำแหน่งหน้าที่ความรับผิดชอบหรือไม่ เพื่อให้ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมมีประสิทธิภาพและประสิทธผล

     3.ด้านผู้ปฏิบัติงานได้ทราบถึงช่องว่างความรู้ ทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายว่า ตนเองยังต้องเพิ่มพูนความรู้ ทักษะของตนเพิ่มเติมหรือไม่ อย่างไร

     จะเห็นได้ว่าการประเมินผลการปฏิบัติงานมีความสำคัญมากกว่าการนำผลการประเมินใช้พิจารณาเลื่อนเงินเดือน ยังรวมถึงการนำผลที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาบุคลากร และพัฒนากระบวนการปฏิบัติงานด้วย

  
 

     สถาบันนำระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานมาใช้ในการบริหารจัดการด้านทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานและตอบสนองต่อภารกิจและวิสัยทัศน์ที่สถาบันกำหนดไว้ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

     1) พัฒนาและปรับปรุงการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งๆ ขึ้น

     2) ให้รางวัลสำหรับหน่วยงานที่มีผลการประเมินอยู่ในระดับดีเด่น

     3) ประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดือน

     ซึ่งรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานกำหนดไว้ปีงบประมาณละ 2 รอบ คือ รอบที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม ถึง 31 มีนาคม และรอบที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 เมษายน ถึง 30 กันยายน ในแต่ละรอบผู้รับการประเมินจะทำการตกลงถึงผลการปฏิบัติงานร่วมกับผู้บังคับบัญชาก่อน และทำการประเมินผลโดยเทียบเคียงผลงานที่ทำได้จริงกับเป้าหมายที่ตั้งไว้ เพื่อสรุปเป็นคะแนนประเมิน หากในระหว่างรอบมีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ เช่น มีงานเพิ่มเติมจากที่ได้ตกลงไว้ ผู้รับการประเมินกับผู้บังคับบัญชาสามารถร่วมกันพิจารณาปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติมได้

     โดยพิจารณาองค์ประกอบในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 2 องค์ประกอบหลัก คือ องค์ประกอบด้านผลสัมฤทธิ์ของงาน(KPI) และองค์ประกอบด้านพฤติกรรมหรือสมรรถนะ(Competency) ทั้งนี้การกำหนดเป้าหมายหรือตัวชี้วัดความสำเร็จในแต่ละองค์ประกอบจะต้องมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของสถาบันหรือหน่วยงาน โดยสัดส่วนหรือค่าน้ำหนักจะขึ้นอยู่กับประเภทและตำแหน่งของบุคลากร ซึ่งมีความแตกต่างกันระหว่างข้าราชการและพนักงานสถาบันทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน ดังนี้

บุคลากรสายวิชาการ (ตัวอย่าง อาจารย์ไม่ได้ดำรงตำแหน่งบริหาร)

 

บุคลากรสายสนับสนุน (ตัวอย่าง ผู้ปฏิบัติงาน)

 

 

 

 กลุ่มงานบริหารงานบุคคลประเมินผลการปฏิบัติงานดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวข้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ระเบียบข้อบังคับในงานบุคคล

     กองบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลเป็นหน่วยงานที่ดำเนินงานด้านบุคคลของสถาบัน เช่น แผนอัตรากำลัง การสรรหาบุคลากร การพัฒนาบุคลากร การส่งเสริมความก้าวหน้าในอาชีพ สิทธิสวัสดิการบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่าตอบแทน เป็นต้น  ซึ่งในฐานะที่สถาบันเป็นหน่วยงานราชการ การดำเนินดังกล่าวจำเป็นต้องอาศัยกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ เพื่อให้การดำเนินการถูกต้อง มีผลทางกฎหมาย รวมถึงเป็นแนวปฏิบัติที่ทางหน่วยงานได้กำหนดไว้
 

 

Knowledge Management

การจัดการความรู้ 

    การพัฒนาศักยภาพ ความสามารถในการดำเนินงานขององค์การเป็นสิ่งที่บุคลากรทุกระดับควรให้ความสำคัญ และกระแสในปัจุจบันอย่าง Soft Skill ที่มีความเชื่อมโยงกับการจัดการความรู้ โดยเฉพาะความรู้ ทักษะ แนวปฏิบัติต่าง ๆ ขององค์การที่อยู่ในตัวบุคลากร (Tacit Knowledge) ซึ่งบุคลากรเหล่านั้นได้สั่งสมความรู้ ประสบการณ์มายาวนาน ทั้งรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น การเรียนรู้จากประสบการณ์  การฝึกอบรม  การศึกษาดูงาน  การทดลอง  การประยุกต์ใช้จากแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) การแนะนำสอนงาน (Coaching) จากผู้บังคับบัญชาหรือเพื่อนร่วมงาน หรือจากการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายภายนอกต่าง ๆ ซึ่งความรู้ดังกล่าวเปรียบดังสินทรัพย์อันมีค่าขององค์การ  องค์การควรต้องมีการบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management ) ดังกล่าวให้เกิดประโยชน์ต่อการดำเนินงาน การเรียนรู้ของบุคลากรและองค์การ ด้วยกระบวนการแสวงหา จัดเก็บ ถ่ายทอด เพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรสามารถปรับใช้อย่างเหมาะสมกับบริบทต่างๆ ขององค์การให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน รวมถึงการเรียนรู้ของบุคลากรระดับต่าง ๆ ขององค์การ

    ปัจจัยสำคัญหนึ่งในการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ คือ การกระตุ้นและสนับสนุนอย่างต่อเนื่องของผู้บริหารขององค์กร เพื่อให้เกิดบรรยายกาศของการเรียนรู้ ทำให้บุคลากรของสถาบันได้มีโอกาสในการส่งมอบความรู้และประสบการณ์ผ่านกิจกรรมหรือเวทีต่างๆ และขยายเป็นชุมชนนักปฏิบัติ ที่ส่งมอบองค์ความรู้และประสบการณ์อย่างต่อเนื่องไม่มีที่สิ้นสุด

     ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 สืบเนื่องถึงปัจจุบันสถาบันได้ผลักด้น ให้การจัดการความรู้เป็นหนึ่งในกระบวนการที่ช่วยยกระดับการปฏิบัติงาน และการเรียนรู้ของบุคลากร โดยอาศัยแนวคิดค่านิยมของเกณฑ์คุณภาพมาประยุกต์ใช้ ได้แก่ การปฏิบัติงานโดยอาศัยความรู้ และข้อมูลเชิงประจักษ์ (Management by Fact) การทำงานแบบ PDCA และการคิดเชิงระบบ (System Thinking) ผ่านการปรับปรุงการปฏิบัติงาน รวมถึงการวิจัยจากงานประจำ (Routine to Research : R2R) และกระบวนการตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) มาประกอบในการดำเนินงานด้านการจัดการความรู้ของสถาบัน

   นอกจากนั้นยังให้ความสำคัญในการจัดเก็บ รวบรวม ประมวล และเผยแพร่ความรู้ที่อยู่ในรู้ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ในช่องทางต่างๆ เช่น เว็บไซต์การจัดการความรู้ระดับสถาบัน (www.km.nida.ac.th) การเผยแพร่แลกเปลี่ยนความรู้ในงานมหกรรมการจัดการความรู้ NIDA Knowledge Forum ร่วมถึงกิจกรรม NIDA Expert Sharing Plus เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่าบุคลากรมีช่องทาง และเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้อย่างแท้จริง

 

          มารู้จักกับเว็บไซต์การจัดการความรู้ของนิด้า

สถาบันใช้เว็บไซต์การจัดการความรู้ระดับสถาบันเป็นช่องทางหนึ่งในการจัดเก็บความรู้ที่สำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากร ซึ่งประกอบด้วย

     1.ความรู้ภายในองค์การ เป็นความรู้ที่สกัดจากบุคลากรภายในสถาบันจากบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน เพื่อเผยแพร่ความรู้ แนวปฏิบัติที่ดีจากผู้รู้ผู้มีประสบการณ์ของสถาบัน

     2.ความรู้ภายนอก เป็นการแผยแพร่ความรู้ แนวปฏิบัติต่างๆ ที่น่าสนใจ เพื่อประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน

     3.ผลงานในการศึกษา ค้นคว้าของบุคลากรของสถาบัน

           3.1 งานวิจัยสายสนับสนุน

           3.2 งานวิเคราะห์ งานสังเคราะห์

           3.3 คู่มือการปฏิบัติงาน

     4.เทคนิคการใช้ MS Office ได้แก่ Excel Word และ PowerPoint

     5.NIDA Infographic เป็นการสกัดและเผยแพร่ความรู้ของสถาบันในรูปแบบของภาพ และภาพเคลื่อนไหวเพื่อให้งานต่อการศึกษาเข้าใจ

     6.กิจกรรมการจัดการความรู้ เป็นการรวบรวมกิจกรรมการจัดการความรู้ที่นิด้าดำเนินการที่ผ่านมา เพื่อประโยชน์ในการอ้างอิงในการปรับปรุงการดำเนินงานในกิจกรรมดังกล่าวในอนาคต

 

 

 

 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21  /ประกันสังคมต้องรู้  /กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรบุคคล